Smart Classroom: ห้องเรียนในยุค 4.0 ตอนที่ 2

รูปแบบ Smart Classroom Smart Classroom มีหลายรูปแบบหรือหลายลักษณะ และมีชื่อเรียกต่างกันออกไป ขึ้นอยู่กับเป้าหมาย และบริบทของสถานศึกษานั้น สุรศักดิ์ ปาเฮ นักการศึกษาของไทยอธิบายไว้อย่างน่าสนใจถึงแบบจำลองของ Smart Classroom ในแง่มุมของอาคารสถานที่ว่ามีจุดมุ่งหมายทั่วไป 10 ประการ คือ 1) มีความเพียงพอ (Adequate) 2) มีความเหมาะสม (Suitability) 3) มีความปลอดภัย (Safety) 4) มีสุขลักษณะ (Healthfulness) 5). read more…

SMART CLASSROOM: ห้องเรียนในยุค 4.0 ตอนที่ 1

จากกรอบยุทธศาสตร์ประเทศไทยระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) 6 ด้าน ทั้งความมั่นคง การสร้างความสามารถในการแข่งขัน การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน การสร้างโอกาสและความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม การสร้างการเจริญเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ เพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” ซึ่งเป็นโมเดลพัฒนาเศรษฐกิจของรัฐบาล ภายใต้ชื่อย่อว่าประเทศไทย 4.0 หรือไทยแลนด์ 4.0 เนื่องจากปัจจุบันประเทศไทยกำลังจะก้าวเข้าสู่ยุคที่ 4 จากเดิมประเทศไทยในยุคที่ 1 จะเน้นการเกษตรเป็นหลัก ยุคที่ 2 จะเน้นอุตสาหกรรมเบา ยุคที่ 3 จะเน้นอุตสาหกรรมหนักและการส่งออก จนมาสู่การก้าวสู่ยุคที่ 4 ที่รัฐบาลต้องการเปลี่ยนโครงสร้างเศรษฐกิจไปสู่เศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยนวัตกรรม (Value-Based Economy) เพื่อสร้างความได้เปรียบในเชิงแข่งขันให้มากขึ้นด้วยนวัตกรรม และความคิดสร้างสรรค์ และการขับเคลื่อนโมเดลนี้ต้องอาศัยความร่วมมือในทุกภาคส่วน

5 เทรนด์สำคัญด้านการศึกษา เมื่อโลกพัฒนา เราก็ต้องปรับตาม

5 เทรนด์สำคัญด้านการศึกษา เมื่อโลกพัฒนา เราก็ต้องปรับตาม คุณอยากเห็นอนาคตการศึกษาไทยเป็นไปในทิศทางไหน? เมื่อเทคโนโลยีและองค์ความรู้ใหม่ๆ กำลังก้าวหน้าไปเรื่อยๆ และสิ่งเหล่านั้นได้เข้ามาเปลี่ยนแปลงรูปแบบการใช้ชีวิต วิธีคิด รวมทั้งการเรียนรู้ของมนุษย์เราในทุกส่วน โดยเฉพาะในด้าน “การศึกษา” ซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่สังคมต้องเตรียมรับมือ และถ่ายทอดไปสู่เยาวชนรุ่นใหม่ให้ได้ หากเราอยากเห็นเยาวชนในชาติ พัฒนาทักษะและสามารถรับมือกับโลกอนาคตได้ การเรียนการสอนและการออกแบบห้องเรียนในรูปแบบเดิม จึงไม่สามารถใช้ได้ผลอีกต่อไป เพราะเมื่อโลกถูกขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยี ทักษะ องค์ความรู้ และวิธีคิดแบบเดิมที่เคยมีในหลักสูตรย่อมไม่เพียงพอ และห้องเรียนสี่เหลี่ยม มีครูมาอ่านหนังสือให้เด็กๆ นั่งฟังฝ่ายเดียวก็ไม่ใช่รูปแบบการศึกษาที่เข้ากับศตวรรษใหม่อีกต่อไป บทความนี้เราจึงขอแนะนำ 5 เทรนด์สำคัญด้านการศึกษา (Key Trends in Education) ซึงเป็นข้อมูลที่รวบรวมจากหน่วยงานด้านการศึกษาสำคัญของโลก นักคิด นักการศึกษา และรายงานขององค์กรเพื่อพัฒนาการศึกษาชั้นนำ. read more…

E-Sport กีฬารูปแบบใหม่ ที่คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจ

E-Sport กีฬารูปแบบใหม่ ที่คนส่วนใหญ่ยังไม่เข้าใจ “E-Sport เป็นกีฬาที่ไม่ต้องใช้แรงจากร่างกาย เพื่อเข้าทำการแข่งขัน แต่ต้องใช้มันสมอง ปฏิภาณและไหวพริบ” หากพูดถึงคำว่า กีฬา พวกเรามักจะนึกถึงกิจกรรมที่ต้องใช้ร่างกายเป็นหลัก ทำการแข่งขันเพื่อชัยชนะ แต่ยังมีกีฬาที่ไม่จะเป็นต้องใช้ร่างกายหนักอยู่อีกมากมาย ตอนนี้จะขอกล่าวถึง E-Sport ชื่ออย่างเป็นทางการ คือ “Electronic Sport” การแข่งขัน E-Sport DOTA 2 รายการ The Intercontinental ที่ประเทศสหรัฐอเมริกา E-Sport เป็นกีฬาที่ไม่ต้องใช้แรงจากร่างกาย เพื่อเข้าทำการแข่งขัน. read more…

5 ไอเดียเปลี่ยนสมาร์ทโฟน Android เครื่องเก่าให้เป็นแก็ดเจ็ตใหม่

ในยุคปัจจุบันที่มีสมาร์ทโฟน Android อยู่มากมายให้เลือกสรรได้ตามความต้อง แต่คำถามคือ เราจะทำอย่างไรกับเครื่องเก่าดี ? ลองมาดู 5 ไอเดียในการนำสมาร์ทโฟน Android เครื่องเก่าของท่านมาดัดแปลงใช้ประโยชน์ได้ ไม่น้อยหน้าแก็ดเจ็ตราคาแพงกันเลยทีเดียว   1. ใช้เป็น Wi-Fi Hotspot ส่วนตัวแบบพกพา สมาร์ทโฟน Android มีความสามารถในการเป็น Wi-Fi Hotspot เพียงแค่ใส่ซิมที่มีโปรโมชั่นอินเตอร์เน็ตเพียงพอลงไป และเปิดฟังก์ชันใช้งานได้ง่ายๆ ดังนี้ เลือก Settings -> More -> Tethering &. read more…

แฟลชไดรฟ์เสีย อย่าเพิ่งทิ้ง

แฟลชไดรฟ์เสีย อย่าเพิ่งทิ้ง ลองแกะดูอาจได้การ์ด MicroSD มาใช้ ถ้าใครที่สามารถใช้แฟลชไดรฟ์จนเสีย โดยที่ไม่หายไปก่อนได้ วันนี้เราขอแนะนำให้ลองแกะดูภายในก่อนนะครับ บางทีแฟลชไดรฟ์ตัวนั้นอาจจะมี MicroSD ทำหน้าที่เก็บข้อมูลอยู่ข้างใน แล้วเราสามารถแกะเอามาใช้ต่อได้   เรื่องราวนี้ถูกเผยแพร่ในกระทู้ FLASH DRIVE เสียอย่าเพิ่งทิ้ง ลองแกะภายในดู โดยคุณ DUCKONE ที่บังเอิญทำแฟลชไดรฟ์ของ Sandisk รุ่น Dual USB Drive เสีย เพราะลงน้ำไปหลายครั้ง และโดนแขนกดตอนเสียบคอมอยู่ จนน่าจะมีอะไรหักภายใน. read more…

รวมขนาดรูปภาพทุกตำแหน่ง ของโซเชียลทุกตัว ประจำปี 2016

รวมขนาดรูปภาพทุกตำแหน่ง ของโซเชียลทุกตัว ประจำปี 2016 สำหรับคนทำคอนเท็นต์บนโซเชียลเน็ตเวิร์ค การรู้ขนาดภาพในแต่ละตำแหน่งถือว่าเป็นอีกหนึ่งปัจจัยสำคัญ ในการสร้างภาพให้มีความน่าสนใจ และในโซเชียลเน็ตเวิร์คแต่ละตัว อย่างเช่นFacebook, Twitter, Google+, Instagram, Twitter หรือ YouTube ก็มีขนาดของภาพที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งให้มานั่งจำว่า “ขนาดภาพของ … มีขนาดเท่าไหร่?” จำทุกตัวก็คงไม่ไหวแน่ วันนี้เรามีขนาดภาพทุกตำแหน่ง จากทุกโซเชียลเน็ตเวิร์คมาฝากครับ โดยเป็นภาพอินโฟกราฟฟิกที่ดูแล้วเข้าใจง่าย เหมาะกับการ Bookmark ไว้ดูในภายหลังด้วย ตามภาพด้านล่างนี้เลยครับ source: makeawebsitehub. read more…

วิธีแก้ไข ไวรัส Facebook โพสต์ลิงค์เอง หรือภาพ 18+ในกลุ่ม

วิธีแก้ไข ไวรัส Facebook โพสต์ลิงค์เอง หรือภาพ 18+ในกลุ่ม ช่วงนี้ตามกลุ่ม Facebook ของเพื่อนๆ คงจะเห็นโพสต์แปลกๆ จากเพื่อนของคุณอย่างเช่น “วิดีโอใหม่สุดฮอตของ maria ozawa 2016” “ร้อน ร้อน …. ความลับของความรักออนไลน์” หรือ “เพื่อนบ้านแอบคลิปคือ “หมกมุ่น” มองความสุขมาก” ซึ่งแน่นอนว่า โพสต์ลักษณะนี้ เรามั่นใจได้เลยว่า เพื่อนเราไม่โพสต์อย่างแน่นอน แต่สิ่งที่โพสต์นั้นมันคือ ไวรัส (หรือมัลแวร์) ครับ. read more…

ทำภาพ Cinemagraph หรือ ภาพถ่ายมีชีวิต (.gif ) ด้วยโฟโต้ชอป

    วันนึงบนโลก..  Jamie Beck (ช่างภาพแฟชั่น) และ Kevin Burg (ดีไซเนอร์) นึกครึ้ม ..จับเอาภาพถ่ายสวยๆมายัดรวมกับวิดีโอเบาๆ ปรับแต่งนิดหน่อย  จนกำเนิดเกิดเป็นงานศิลปะที่โดดเด่นเตะตาสร้างความน่าสนใจให้กับชาวโลกเรียกขานกันทั่วไปว่า “Cinemagraph” หรือ “ภาพถ่ายมีชีวิต”     จริงๆแล้วภาพ Cinemagraph ก็คือ ภาพ Gif Animation ธรรมดานั้นเอง    ซึ่งมีวิธีการทำที่ไม่ยากเลย วันนี้เรามาเรียนรู้วิธีการทำภาพชนิดนี้ไปพร้อมๆกันครับ การทำภาพ Cinemagraph นั้น  มี. read more…

ปีใหม่ ที่ใครหลายคนยังไม่รู้

วันที่ 1 มกราคมเป็นวันแห่งความสุขของใครหลายคน นอกจากจะได้หยุดพักผ่อน ได้เฉลิมฉลองกับครอบครัวและเพื่อนๆ แล้ว ยังเป็นวันที่หลายคนตั้งใจว่าจะเริ่มต้นสิ่งใหม่ๆ ให้กับชีวิตด้วย ต้นกำเนิดวันปีใหม่ มีเรื่องเล่ากันว่า จริงๆ แล้วในอดีต วันปีใหม่ไม่ใช่วันที่ 1 มกราคม แต่เป็นวันที่ 1 มีนาคม ตามปฏิทินโบราณของชาวโรมัน โดยปฏิทินนี้จะมีแค่ 10 เดือน และเดือนมีนาคมจะเป็นเดือนแรกของปี เพราะปฏิทินจะนับตามการโคจรของดวงจันทร์ โดยเริ่มจากฤดูใบไม้ผลิ จนถึงสิ้นฤดูใบไม้ร่วง สำหรับการเฉลิมฉลองปีใหม่เริ่มขึ้นครั้งแรกในยุคเมโสโปเตเมียเมื่อประมาณสองพันปีที่แล้วประมาณช่วงกลางเดือนมีนาคม เรียกว่า vernal equinox. read more…

Author avatar