Post Views:
329
https://www.alleducare.co
จอรับภาพโปรเจคเตอร์
- จอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง (manual projector screen) ลักษณะจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึงนั้นการทำงานจะต้องใช้มือดึงเชือก เวลาใช้งาน ส่วนเวลาเก็บจอโปรเจคเตอร์จะต้องใช้มือกระตุกเชือก เพื่อทำการเก็บจอโปรเจคเตอร์ ลักษณะรูปจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึงขนาดมีตั้งแต่เส้นทะแยงมุม 50 นิ้ว ถึง 150 นิ้ว
ข้อดี ของจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง ราคาถูก
ข้อเสียคือ เวลาใช้งานเนื่องจากว่ามีการดึงเข้าดึงออกบ่อยๆ อาจทำให้เขี้ยวข้างในหักและทำให้ จอโปรเจคเตอร์ค้างไม่สามารถใช้งาน เก็บเข้า ดึงออก จากกระบอกได้
2. จอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า (Motorize projector screen) ลักษณะการทำงานของจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้านั้นเวลาใช้งานจะทำงานโดยผ่าน สวิทซ์ จอ และ รีโมทควบคุม มีลูกศรสำหรับกดขึ้นลง เพื่อบังคับให้มอเตอร์จอหมุนเก็บเนื้อผ้า และ คายเนื้อผ้าออก ขนาดมีตั้งแต่เส้นทะแยงมุม 70 นิ้ว ไปจนถึง 400 นิ้ว อัตรส่วนจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้ามีทั้งแบบ 4:3,16:9,16:10ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้าจะมีทั้งแบบ synchronize motor และ Tubular motor
ข้อดี – สะดวกต่อการใช้งานและมีความทนทานมากกว่าแบบจอโปรเจคเตอร์มือดึง
ข้อเสีย – ราคาจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า จะมีราคาสูงกว่า จอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง การติดตั้งต้องมีการเดินสายสัญญาณอาจทำให้การติดตั้งยากกว่าจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง
3. จอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้าขึงตึง (Tab tension projector screen) ลักษณะการทำงานจะเป็นเหมือนจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า แตกต่างกันตรงที่จะมีลวดเพื่อเพิ่มความตึงของเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเนื้อผ้าที่ตึงไม่มีการพริ้วไหวของเนื้อผ้าใช้ สวิทซ์ และ รีโมทในการควบคุมการขึ้นลงของจอโปรเจคเตอร์
4. จอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้ง (tripod projector screen) ลักษณะการทำงานจะเป็นแบบจอมือดึง สามารถเคลื่อนย้ายไปใช้งานได้สะดวกกว่าแบบจอมือดึง โดยมีขาตั้ง 3 ขา สามารถกาง และ เก็บได้ ขนาดเส้นทะแยงมุมจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้งจะมีขนาดตั้งแต่ 70 นิ้ว ถึง 120 นิ้วอัตรส่วนเป็น 4:3
ข้อดี – เคลื่อนย้ายสะดวก และ ราคาถูก
ข้อเสีย – กรณีดึงแรงๆ อาจทำให้เขี้ยวล็อคข้างในเสียได้
5. จอโปรเจคเตอร์แบบตั้งพื้น (floor projector screen) ลักษณะจอโปรเจคเตอร์เป็นแบบกล่องสามารถตั้งกล่องที่พื้นได้และทำการดึงขึ้น มาเพื่อใช้งาน ขนาดของ จอโปรเจคเตอร์แบบตั้งพื้น จะมีเส้นทะแยงมุมขนาด 60 นิ้ว และ 80 นิ้ว
ข้อดี – เคลือนย้ายได้สะดวกกว่าแบบจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้งเก็บได้สะดวกกว่า
ข้อเสีย – ราคาสูงกว่าจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้ง
6. จอโปรเจคเตอร์แบบเคลื่อนย้ายขนาดใหญ่ (Easy fold projector screen) ลักษณะจอโปรเจคเตอร์เป็นแบบเคลื่อนย้ายใช้สำหรับงานแสดงนิทรรศการหรืองานภายนอก ในชุดจะประกอบไปด้วย เนื้อจอแบบฉายหน้าหรือฉายหลัง เฟรมอลูมิเนี่ยม ขาตั้ง 2 ขา และกล่องบรรจุ เนื่องจากว่าเป็นจอขนาดใหญ่ มีขนาดเส้นทะแยงมุมตั้งแต่ 120 นิ้ว ถึง 200 นิ้ว อัตราส่วน 4:3 และ 16:10 แล้วแต่จะเลือกใช้สามารถถอดประกอบและถอดเก็บได้
เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์
ในปัจจุบันเนื้อผ้าขอจอโปรเจคเตอร์ส่วนใหญ่จะมีดังนี้
1. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารที่ทำให้แสงกระจายตัวได้ดีในระดับหนึ่ง คือ ดีกว่าฉายเข้าผนังปูนที่ทาสีขาว
2. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ HD fabric ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารที่ทำให้แสงกระจายตัวได้ดีกว่าเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white และตัวเนื้อผ้าจะมีละเอียดที่ดีกว่า matt white
3. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ USA fiber glass ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารทำให้แสงกระจายตัวได้ดีกว่าเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white และ ตัวเนื้อผ้าจะมีความละเอียดที่ดีกว่า HD fabric และ matt white
รูปเปรียบเทียบลักษณะเนื้อผ้าทั้ง 3 แบบ(ปกติจะสีขาวแต่เพื่อให้เห็นความแตกต่าง จึงลงสีดำเข้าไปให้เห็นความแตกต่างของเนื้อผ้าแต่ละแบบครับ)
https://www.alleducare.co
จอรับภาพโปรเจคเตอร์
ข้อดี ของจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง ราคาถูก
ข้อเสียคือ เวลาใช้งานเนื่องจากว่ามีการดึงเข้าดึงออกบ่อยๆ อาจทำให้เขี้ยวข้างในหักและทำให้ จอโปรเจคเตอร์ค้างไม่สามารถใช้งาน เก็บเข้า ดึงออก จากกระบอกได้
2. จอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า (Motorize projector screen) ลักษณะการทำงานของจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้านั้นเวลาใช้งานจะทำงานโดยผ่าน สวิทซ์ จอ และ รีโมทควบคุม มีลูกศรสำหรับกดขึ้นลง เพื่อบังคับให้มอเตอร์จอหมุนเก็บเนื้อผ้า และ คายเนื้อผ้าออก ขนาดมีตั้งแต่เส้นทะแยงมุม 70 นิ้ว ไปจนถึง 400 นิ้ว อัตรส่วนจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้ามีทั้งแบบ 4:3,16:9,16:10ชนิดของมอเตอร์ไฟฟ้าจะมีทั้งแบบ synchronize motor และ Tubular motor
ข้อดี – สะดวกต่อการใช้งานและมีความทนทานมากกว่าแบบจอโปรเจคเตอร์มือดึง
ข้อเสีย – ราคาจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า จะมีราคาสูงกว่า จอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง การติดตั้งต้องมีการเดินสายสัญญาณอาจทำให้การติดตั้งยากกว่าจอโปรเจคเตอร์แบบมือดึง
3. จอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้าขึงตึง (Tab tension projector screen) ลักษณะการทำงานจะเป็นเหมือนจอโปรเจคเตอร์แบบมอเตอร์ไฟฟ้า แตกต่างกันตรงที่จะมีลวดเพื่อเพิ่มความตึงของเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์ เหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการเนื้อผ้าที่ตึงไม่มีการพริ้วไหวของเนื้อผ้าใช้ สวิทซ์ และ รีโมทในการควบคุมการขึ้นลงของจอโปรเจคเตอร์
4. จอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้ง (tripod projector screen) ลักษณะการทำงานจะเป็นแบบจอมือดึง สามารถเคลื่อนย้ายไปใช้งานได้สะดวกกว่าแบบจอมือดึง โดยมีขาตั้ง 3 ขา สามารถกาง และ เก็บได้ ขนาดเส้นทะแยงมุมจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้งจะมีขนาดตั้งแต่ 70 นิ้ว ถึง 120 นิ้วอัตรส่วนเป็น 4:3
ข้อดี – เคลื่อนย้ายสะดวก และ ราคาถูก
ข้อเสีย – กรณีดึงแรงๆ อาจทำให้เขี้ยวล็อคข้างในเสียได้
5. จอโปรเจคเตอร์แบบตั้งพื้น (floor projector screen) ลักษณะจอโปรเจคเตอร์เป็นแบบกล่องสามารถตั้งกล่องที่พื้นได้และทำการดึงขึ้น มาเพื่อใช้งาน ขนาดของ จอโปรเจคเตอร์แบบตั้งพื้น จะมีเส้นทะแยงมุมขนาด 60 นิ้ว และ 80 นิ้ว
ข้อดี – เคลือนย้ายได้สะดวกกว่าแบบจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้งเก็บได้สะดวกกว่า
ข้อเสีย – ราคาสูงกว่าจอโปรเจคเตอร์แบบขาตั้ง
6. จอโปรเจคเตอร์แบบเคลื่อนย้ายขนาดใหญ่ (Easy fold projector screen) ลักษณะจอโปรเจคเตอร์เป็นแบบเคลื่อนย้ายใช้สำหรับงานแสดงนิทรรศการหรืองานภายนอก ในชุดจะประกอบไปด้วย เนื้อจอแบบฉายหน้าหรือฉายหลัง เฟรมอลูมิเนี่ยม ขาตั้ง 2 ขา และกล่องบรรจุ เนื่องจากว่าเป็นจอขนาดใหญ่ มีขนาดเส้นทะแยงมุมตั้งแต่ 120 นิ้ว ถึง 200 นิ้ว อัตราส่วน 4:3 และ 16:10 แล้วแต่จะเลือกใช้สามารถถอดประกอบและถอดเก็บได้
เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์
ในปัจจุบันเนื้อผ้าขอจอโปรเจคเตอร์ส่วนใหญ่จะมีดังนี้
1. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารที่ทำให้แสงกระจายตัวได้ดีในระดับหนึ่ง คือ ดีกว่าฉายเข้าผนังปูนที่ทาสีขาว
2. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ HD fabric ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารที่ทำให้แสงกระจายตัวได้ดีกว่าเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white และตัวเนื้อผ้าจะมีละเอียดที่ดีกว่า matt white
3. เนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ USA fiber glass ลักษณะเนื้อผ้าจะเคลือบสารทำให้แสงกระจายตัวได้ดีกว่าเนื้อผ้าจอโปรเจคเตอร์แบบ matt white และ ตัวเนื้อผ้าจะมีความละเอียดที่ดีกว่า HD fabric และ matt white
รูปเปรียบเทียบลักษณะเนื้อผ้าทั้ง 3 แบบ(ปกติจะสีขาวแต่เพื่อให้เห็นความแตกต่าง จึงลงสีดำเข้าไปให้เห็นความแตกต่างของเนื้อผ้าแต่ละแบบครับ)
PATTTRA WANAJARO
More Posts
PATTTRA WANAJARO